วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

แบบฝึกหัด เรื่องดำเนินการ


 

ข้อ1 การลบ
#include<stdio.h>
main()
{
int num1,num2,sum;

printf("Enter number1:");
scanf("%d",&num1);

printf("Enter number2:");
scanf("%d",&num2);

sum=num1-num2;
printf("%d - %d = %d",num1,num2,sum);
}

ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
Enter number1: 57
Enter number2: 43
57-43=14


ข้อ1 การคูณ
#include<stdio.h>
main()
{
int num1,num2,sum;

printf("Enter number1:");
scanf("%d",&num1);

printf("Enter number2:");
scanf("%d",&num2);

sum=num1*num2;
printf("%d * %d = %d",num1,num2,sum);
}


ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter number1: 27
Enter number2: 23
27*23=621

ข้อ2 คีย์บอร์ด3

#include<stdio.h>
main()
{
int num1,num2,num3,sum;
printf("Enter number1:");
scanf("%d",&num1);

printf("Enter number2:");
scanf("%d",&num2);

printf("Enter number3:");
scanf("%d",&num3);

printf("%d,%d,%d",num1,num2,num3,sum);
}
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ


Enter number1 :5
Enter number2 :8
Enter number3 :9
5,8,9

ข้อที่2 คีย์บอร์ด4
#include<stdio.h>
main()
{
int Weight,high;
printf("Enter Weight:");
scanf("%d",&Weight);

printf("Enter high:");
scanf("%d",&high);

printf("Weight& high %d,%d",Weight,high);
}
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ


Enter Weight : 45
Enter high : 157
Weight&high 45,157







ข้อ 3 พื้นที่สี่เหลี่ยม5

#include<stdio.h>
main()
{
int m,p;
float result;
printf("Enter>>>");
scanf("%d",&m);
printf("Enter>>>");
scanf("%d",&p);

result=m*p;
printf("Result=%.2f",result);

}

ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter >>> 25
Enter >>> 15
Result = 375.00

ข้อที่3 พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู6


#include<stdio.h>
main()
{
int p,k,s;
float result;
printf("Enter>>>");
scanf("%d",&p);
printf("Enter>>>");
scanf("%d",&k);
printf("Enter>>>");
scanf("%d",&s);

result=0.5*p*(k+s);
printf("Result=%.2f",result);

}


ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter >>> 3
Enter >>> 4
Enter >>> 0.5
Result = 6.00

ข้อที่4 แปลงค่าอุณหภูมิ1

#include<stdio.h>
main()
{
int F;
float C;
printf("Enter fahrenheit");
scanf("%d",&F);

C=(F-32)/1.8;
printf("degree=%.1f",C);


}


ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter Fahrenheit 32
degree = 0.0


ข้อที่4 แปลงค่าอุณหภูมิ 2




#include<stdio.h>
main()
{
int C;
float F;
printf("Enter degree");
scanf("%d",&C);

F=(C/5)*9+32;
printf("Fahrenheit=%.1f",F);

}
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter degree100
Fahrenheit = 212.0




วันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2556

การประกาศตัวแปร




#include<stdio.h>
main()
{
   int Age=16;
   float Weight=40.00;
   char name[100]="Supawadee Muangkaew";
   char Subject[100]="Computer";

   printf("Age: %d \n" ,Age);
   printf("Weight: %.2f \n" ,Weight);
   printf("Name: %s \n" ,name);
   printf("Subject %s \n" ,Subject);
}

วันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2555

C PROGRAMMING






#include<stdio.h>
main()
{
    printf("    cccccc");
    printf("\n   ccc");
    printf("\n  ccc");
    printf("\n ccc");
    printf("\nccc");
    printf("\nccc");
    printf("\nccc");
    printf("\n ccc");
    printf("\n  ccc");
    printf("\n   ccc");
    printf("\n    cccccc Programming");


}

วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ใบงานเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์


ใบงานเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์

1. จงอธิบายความหมายของเครื่อข่ายมาพอข้าใจ
-“เครือข่าย” หมายถึง การประสานงานรูปแบบหนึ่งที่โยงใยการทำงานของกลุ่มบุคคล  หรือ องค์กรหลายองค์กร ซึ่งมีทรัพยากร มีเป้าหมาย มีกลุ่มสมาชิกของตนเอง ที่มีความคิด มีปัญหา มีความต้องการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกันหรือคล้ายกัน มาติดต่อประสานงานหรือร่วมกันทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
2. จงอธิบายความหมายคำว่าอินเตอร์เน็ต
-อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน มาจากคำว่า Inter Connection Network อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลก สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้

3.จงเขียนอธิบายรูปแบบการเชื่อมต่อดังนี้

 3.1 แบบดาว
 -การเชื่อมต่อแบบดาว (STAR TOPOLOGY) เป็นการเชื่อมต่อสถานีหรือจุดต่าง ๆ ออกจากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง หรือคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่เรียกว่า File Server แต่ละสถานีจะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อกับศูนย์กลาง ไม่มีการใช้สายสัญญาณร่วมกัน เมื่อสถานีใดเกิดความเสียหาย จะไม่มีผลกระทบกับสถานีอื่น ๆ 














3.2 แบบวงแหวน
-การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING TOPOLOGY) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรก เชื่อมต่อกับสถานีสุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำข่าวสาร วิ่งไปบนสายสัญญาณ


3.3 แบบบัส
-การเชื่อมต่อแบบบัส (BUS TOPOLOGY) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS หรือ TRUNK ที่ปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Terminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงานก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย












3.4 แบบทรีหรือแบบต้นไม้
-มีลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบดาวแต่จะมีโครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมีสายนำสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน



4.จงสรุปว่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครื่อข่ายมีอะไรบ้างพร้อมให้นิยามความหมายมาพอเข้าใจ

1.โมเด็ม (Modem)
    -โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับละแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร  

2. การ์ดเครือข่าย (Network  Adapter) หรือ การ์ด LAN
    - เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่สื่อสารระหว่างเครื่องต่างกันได้ไม่จำเป็นต้องเป็นรุ่นหรือยี่ห้อเดียวกันแต่หากซื้อพร้อมๆกันก็แนะนำให้ซื้อรุ่นและยีห้อเดียวกันจะดีกว่าและควรเป็น การ์ดแบบ PCI เพราะสามารถส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบ ISAและเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆมักจะไม่มี Slot  ISA ควรเป็นการ์ดที่มีความเร็วเป็น 100 Mbpsซึ่งจะมีราคามากกว่าการ์ดแบบ 10 Mbps ไม่มากนัก แต่ส่งขอมูลได้เร็วกว่า


3. เกตเวย์ (Gateway)
 -เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกอย่างหนึ่งที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์หน้าที่หลักคือช่วยให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์  2 เครือข่ายหรือมากกว่า ซึ่งมีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน



4. เราเตอร์ (Router)
     -เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายที่มีขนาดหรือมาตรฐานในการส่งข้อมูลต่างกัน สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เราเตอร์จะทำงานอยู่ชั้น Network หน้าที่ของเราเตอร์ก็คือ ปรับโปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูล บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์) ที่ต่างกันให้สามารถสื่อสารกันได้

5. บริดจ์ (Bridge)
     บริดจ์มีลักษณะคล้ายเครื่องขยายสัญญาณ บริดจ์จะทำงานอยู่ในชั้น Data Link บริดจ์ทำงานคล้ายเครื่องตรวจตำแหน่งของข้อมูล โดยบริดจ์จะรับข้อมูล จากต้นทางและส่งให้กับปลายทาง โดยที่บริดจ์จะไม่มีการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆแก่ข้อมูล บริดจ์ทำให้การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายมีประสิทธิภาพลดการชนกัน ของข้อมูลลง บริดจ์จึงเป็นสะพานสำหรับข้อมูลสองเครือข่าย

6. รีพีตเตอร์ (Repeater)
    - รีพีตเตอร์ เป็นเครื่องทบทวนสัญญาณข้อมูลในการส่งสัญญาณข้อมูลในระยะทางไกลๆสำหรับสัญญาณแอนะล็อกจะต้องมีการขยายสัญญาณข้อมูลที่เริ่มเบาบางลงเนื่องจากระยะทาง และสำหรับสัญญาณดิจิตัลก็จะต้องมีการทบทวนสัญญาณเพื่อป้องกันการขาดหายของสัญญาณเนื่องจากการส่งระยะทางไกลๆ

7.  สายสัญญาณ
     -เป็นสายสำหรับเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆในระบบเข้าด้วยกัน หากเป็นระบบที่มีจำนวนเครื่องมากกว่า 2 เครื่องก็จะต้องต่อผ่านฮับอีกทีหนึ่ง โดยสายสัญญาณสำหรับเชื่อมต่อเครื่องในระบบเครือข่าย จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ
      สาย Coax  มีลักษณะเป็นสายกลม  คล้ายสายโทรทัศน์  สามารถส่งสัญญาณได้ไกลประมาณ 200 เมตร  สายประเภทนี้จะต้องใช้ตัว T Connector สำหรับเชื่อมต่อสายสัญญาณกับการ์ด LAN ต่างๆในระบบ
      สาย UTP (Unshied  Twisted  Pair)  เป็นสายสำหรับการ์ด  LAN ที่ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ-45  สามารถส่งสัญญาณได้ไกลประมาณ 100 เมตร สามารถใช้ต่อผ่านสายเพียงเส้นเดียได้แต่ถ้ามากกว่า 2 เครื่อง 

8.  ฮับ (HUB)     - เป็นอุปกรณ์ช่วยกระจ่ายสัญญาณไปยังเครื่องต่างๆที่อยู่ในระบบ หากเป็นระบบเครือข่ายที่มี 2 เครื่องก็ไม่จำเป็นต้องใช้ฮับสามารถใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ ถึงกันได้โดยตรง  แต่หากเป็นระบบที่มีมากกว่า 2 เครื่องจำเป็นต้องมีฮับเพื่อทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ในการเลือกซื้อฮับควรเลือกฮับที่มีความเร็วเท่ากับความเร็ว ของการ์ด

5.จงอธิบายความหมายของคำศัพท์ต่อไปนี้มาพอเข้าใจ

5.1 Lan
  - หมายถึง การต่อเชื่อมคอมพิว เตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย แต่ละเครื่องจะอยู่ในบริเวณใกล้ ๆ กัน เช่น ใน อาคารเดียวกัน 

5.2 Wan
   -หมายถึง ข่ายงานคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมโยงกันเป็นบริเวณกว้าง เช่น ระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ 

5.3 Frame Relay
    -หมายถึง การออกแบบสื่อสารโทรคมนาคมสำหรับประสิทธิภาพต้นทุนการส่งผ่านสำหรับการจราจรเป็นช่วงระหว่างเครือข่ายพื้นที่ท้องถิ่น (local area network) และระหว่างจุดปลายในเครือข่ายพื้นที่กว้าง

5.4 Ethernet
   -หมายถึง เทคโนโลยีสำหรับเครือข่ายแบบแลน (LAN) ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบันโดยสายสัญญาณที่ได้รับความนิยม คือ UTP 10Base-T ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้เร็วถึง 10 Mbpsอีเทอร์เน็ตนั้นเหมาะกับงานที่ต้องการรับส่ง/ข้อมูลในอัตราความเร็วสูงเป็นช่วง ๆ เป็นครั้งคราว

5.5 Internet
   -อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลก สามารถติดต่อสื่อสารถึงกัน 

5.6 Protocol
    -หมายถึง ข้อกำหนด ขั้นตอน หรือกฎระเบียบที่ใช้ในการกำหนดการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ผู้รับเเละผู้ส่งสามารถสื่อสารกันรู้เรื่อง เช่น ขั้นตอนการโทรศัพท์

5.7 Fiber optic

   -สายสัญญาณของระบบเครือข่ายอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสามารถในการรับ-ส่งสัญญาณได้ไกลๆ เป็นกิโลเมตร และมีการสูญเสียของสัญญาณน้อยมาก

5.8ATM
- ระบบสื่อสารข้อมูลลความเร็วสูง ที่ใช้รูปแบบการสื่อสารเป็นแบบ แพ็กเก็จ เหมือนเช่นในเครือข่าย  X.25 หรือระบบ LAN เช่น อีเทอร์เน็ตโทเกินริง แต่การสื่อสารเป็นแบบอะซิงโครนัสกล่าวคือ ตัวรับและตัวส่งใช้สัญญาณนาฬิกาแยกจากกันไม่เกี่ยวข้องกัน ATM ถูกพัฒนามาจากเครือ ข่าย Packet-switching ซึ่งจะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นหน่วยย่อยๆ เรียกว่า Packet ที่มีขนาด เล็กและคงที่แล้วจึงส่งแต่ละ packet ออกไป แล้วนำมาประกอบรวมกันเป็นข้อมูลเดิมอีก ครั้งที่ปลายทาง

5.9VPN
- เครือข่ายเสมือนส่วนตัว ที่ทำงานโดยใช้ โครงสร้างของ เครือข่ายสาธารณะ หรืออาจจะวิ่งบน เครือข่ายไอพีก็ได้ แต่ยังสามารถ คงความเป็นเครือข่ายเฉพาะ ขององค์กรได้ ด้วยการ เข้ารหัสแพ็กเก็ตก่อนส่ง เพื่อให้ข้อมูล มีความปลอดภัยมากขึ้น

6.จงเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับระบบเครือข่ายมา 20 คำพร้อมอธิบายและคำอ่านภาษาอังกฤษ

1.COMPOSE
-การแต่ง หรือเขียนจดหมาย Email
2.DIAL UP
-การติดต่อกับคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่าย ผ่านทางสายโทรศัพท์
3.DOMAIN
-กลุ่มของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่บนเครือข่าย
4.EISA
-การเชื่อมต่อหรือ อินเตอร์เฟส แบบมาตราฐานของการ์ดต่าง ๆ ปัจจุบันล้าสมัยแล้ว
5.E-MAIL
 -Electronic Mail จดหมายอิเลคทรอนิกส์ ใช้สำหรับการรับ-ส่งข้อมูลผ่านทางเครือข่าย
6.GATEWAY
-คอมพิวเตอร์ตัวกลางในการเคลื่อนย้ายข้อมูลจากเครือข่ายหนึ่ง ไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง
7.HOME PAGE
-เอกสารหน้าแรก (หน้าแนะนำตัว) ของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ของ web site ต่างๆ
8.HOST
-คอมพิวเตอร์หลัก ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล เช่น Host ของ web site ต่างๆ
9.LOG IN
-ขั้นตอนการขออนุญาต เข้าระบบ ปกติจะมี ID และ Password เป็นตัวควบคุม
10.HTML
-ย่อมาจาก Hypertext Markup Language ซึ่งเป็นภาษาสำหรับ กำหนดรูปแบบง่ายๆ ของเอกสาร ที่จะถูกแสดงโดย บราวเซอร์ ในระบบ อินเทอร์เน็ต
11.POP SERVER
-Post Office Protocol คือ เซอร์เวอร์ที่ใช้ในการรับส่ง Email
12.PROTOCOL
-มาตราฐานที่ใช้ร่วมกัน ในการติดต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ด้วยกัน
13.SCSI
-Small Computer System Interface การเชื่อมต่ออุปกรณ์ เพื่อรับ-ส่ง ข้อมูลถึงกัน
14.SERVER
-คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการเก็บข้อมูล
15.TELNET
-เครื่องมือในการติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล
16.TOKEN RING
-มาตราฐานการเชื่อต่อเคเบิล อย่างหนึ่งในระบบเครือข่าย
17.UPLOAD
-วิธีการส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ
18.URL
-Unique Resource Locator ชื่อของคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อระบุตำแหน่งของเอกสารบน เวิลด์ ไวด์ เว็บ
WAN
19.Wide Area Network
-ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่กว่า LAN สามารถติดต่ไปยังเครือข่ายภายนอกได้ทั่วโลก
20.WEBMASTER
-ชื่อตำแหน่งของผู้ที่สร้าง ดูแล จัดการ web ทั้งนี้อาจหมายถึงเข้าของ web ก็ได้



วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ใบงานที่่3


ใบงานที่3

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
1.คอมพิวเตอร์คืออะไร
     - คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการทำงานแบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อนตามคำสั่งของโปรแกรม 
2.ให้นักเรียนวาดรูปวงจรการทำงานของคอมพิวเตอร์ใหสมบูรณ์มากที่สุด


3.คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
- การทำงานด้วยระะบบอิเล็กทรอนิกส์
- การทำงานด้วยความเร็วสูง
- ความถูกต้องแม่นยำเชื่อถือได้
- การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก
- การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล
4.คอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
 - แบ่งเป็น 5 ประเภทหลัก คือ
    4.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
    4.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
    4.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
    4.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
   4.5 สถานีงานวิศวกรรม (engineering workstation)
5.งานด้านการวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม ควรเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใด เพราะเหตุใดถึงเลือกใช้คอมพิวเตอร๋ประเภทนั้น
- ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน

6.ระบบงานจองห้องพักของโรงแรม ควรเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใด เพราะเหตุใดถึงเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนั้น
- มินิคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงกว่าสถานีงานวิศวกรรมนำมาใช้สำหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ที่มีการวางระบบเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกัน เช่น งานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม 
7. ระบบธนาคารควรเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใดเพราะเหตุใดจึงเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนั้น 

- เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
สามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จำนวนมากได้ 

8.คอมพิวเตอร์พกพาหรือโน้ตบุ๊ค จัดอยู่ในคอมพิวเตอร์ประเภทใด
 -มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)

9. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยกี่ด้าน ได้แก่อะไรบ้าง
   - 5 ด้านด้วยกัน คือ

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 
2. ซอฟต์แวร์ (Software) 
3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
4. บุคคลากร (Peopleware) 
5. กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure)


             

10. ให้นักเรียนวาดรูปแสดงขั้นตอนของสารสนเทศ
                    


11. ให้นักเรียนแต่ละคนบอกถึงประโยชน์และวิธีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียน


          -  ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการ
นำบทเรียน การผลิตสื่อการสอน การใช้ซีดีรอมสำหรับการเรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษาหรือ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน


12. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่าคอมพิวเตอร์มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันของคนหรือไมอย่างไรแลัะนักเรียนคิดว่าทุกคนมีความจำเป็นที่ต้องเรียนรู้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หรือไมเพราะเหตุใด
  

      -  มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันของคน    เพราะ
1 . คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้โดยไม่ต้องหยุดพัก คือทำงานได้ตลอดเวลา ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่
2 . คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ ถ้ามีการกำหนดโปรแกรมทำงานที่ถูกต้อง จะไม่มีการทำงานผิดพลาดขึ้นมา

3.คอมพิวเตอร์สามารถทำงานแบบคนได้ในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เช่น ที่มีก๊าซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น


วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ใบงานที่ 1




1.    จงยกตัวอย่างระบบสารสนเทศที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจำวันมาอย่างน้อย 5 ระบบ
   -  โรงงานประกอบรถยนต์ที่ใช้แขนหุ่นยนต์
   -  การใชคอมพิวเตอร์ในสำนักงาน
   -  การใช้สื่อในการรับส่งข้อมูล
   -  การใช้เครื่องมืออำนวยความสะดวกภายในบ้าน
   -  การติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียม

2.    เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร  เราสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารเทศได้อย่างไรบ้าง
        จงยกตัวอย่างพร้อมอธิบาย
   -   เทคโนโลยีสารสนเทศ  คือ  การนำวิทยาการที่ก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์
                                                         และการสื่อสารมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ 
                                                         ทำให้สารสนเทศมีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น

   -  ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ  ได้แก่

   1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์ 
      คอมพิวเตอร์หรือในรูปของ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ

   2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแต่ละวัน

   3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ครั้งแล้วครั้งเล่าอย่างสะดวก

   4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร  
       ด้วยการช่วยคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทำให้สำเร็จได้ด้วยมือ


3.    องค์ประกอบของระบบสารสนเทศมีกี่ส่วน อะไรบ้าง
       มี 5 องค์ประกอบ  ได้แก่  
    -  ฮาร์ดแวร์   
    -  ซอฟต์แวร์   
    -  ข้อมูล
    -  บุคลากร
    -  ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

4.    จงอธิบายการประมวลผลแบบกลุ่ม และ แบบเชื่อมตรง
                                                         แบบกลุ่ม
            จะเป็นวิธีการประมวลผลที่ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลา
   ไว้จนกว่าจะมีข้อมูลที่ประมวลผลจำนวนหนึ่ง จึงทำการประมวลผลพร้อมกัน     หรืออาจรอจนกว่าครบตามเวลาที่กำหนด จึงทำการประมวลผลไม่ว่าจะมี
    จำนวนเท่าใดก็ตาม

                                      แบบเชื่อมตรง             

           การประมวลผลที่ทำโดยอุปกรณ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่อง
   คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าอุปกรณ์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของตัวเครื่อง (เช่นเครื่องอ่านบัตร)
   หรืออุปกรณ์นั้นจะอยู่ห่างออกไปแต่สามารถติดต่อโดยตรงกับเครื่องได้

5.    ประโยชน์ของ Geographic Information System มีอะไรบ้าง
  1. การอนุรักษ์ และจัดการสิ่งแวดล้อม
  2. การจัดการด้านทรัพยากร/การเกษตร
  3. การวางแผนด้านสาธารณะภัย 
  4. การจัดการสาธารณูปโภค 
  5. การวิเคราะห์ด้านตลาด 


6.    ให้นักเรียนยกตัวอย่างระบบสารสนเทศระดับต่างๆ มาอย่างน้อยระดับละ 1ตัวอย่าง


     1.     ระบบสารสนเทศสำหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน  
  ช่วยสนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพื้นฐานและ
  งานทำรายการต่างๆขององค์กร 
  


      2.     ระบบสารสนเทศสำหรับผู้ชำนาญการ 
  ระบบนี้สนับสนุนผู้ทำงานที่มีความรู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล  
  วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยให้มีการนำความรู้ใหม่มาใช้
  และช่วยควบคุมการไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร



วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ชื่อ : น.ส สุภาวดี  เมืองแก้ว

เกิดวัน: ศุกร์  27 กันยายน 2539

อายุ: 16 ปี

น้ำหนัก: 40  ส่วนสูง : 153

สีที่ชอบ : ม่วง  ชมพู

กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/3

โรงเรียนชะอวด